โครงการปลูกพลังบวก หนูน้อยปฐมวัยใจเข้มแข็ง

โดย สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า

รูปแบบดำเนินงานโครงการ

องค์ประกอบการดำเนินงานของโครงการฯ
1.ร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหา  1.วิเคราะห์งานวิจัย
2.ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อเยาวชน/บุหรี่และเหล้ามืองสอง
3.รวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่
2.พัฒนาสื่อและนวัฒกรรม1. วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560
2. กำหนดสภาพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามองค์ประกอบทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัย
3. จัดทำแผนชุดกิจกรรมเหล้า/บุหรี่สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี
4. จัดทำคู่มือครู ชุดกิจกรรมปลูกพลังบวก   
5. จัดทำชุดกิจกรรมความรู้ผู้ปกครอง
6. คัดเลือกนิทาน/เพลง/เกม/ใบกิจกรรมประกอบแผนชุดกิจกรรมเหล้า/บุหรี่
7.จัดทำสื่อออนไลน์ เพจ Do ดิดี เพื่อสร้างฐานคิดในการพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.จัดทำคลิป “การสื่อสารพลังบวกสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย
3.นำไปใช้สู่การปฎิบัติการ1. ประชุมคัดเลือกสถานศึกษาที่มีความพร้อมในการดำเนินงานโครงการจากสังกัด สพฐ.,เอกชน, อบจ.,อปท.,พม.,อว., จำนวน 42 แห่ง
2. จัดอบรมพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน,ครูปฐมวัย,ผู้ดูแลเด็ก,ผู้อำนวยการกองการศึกษา,ศึกษานิเทศก์ เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการปลูกพลังบวกเพื่อสร้างจิตสำนึกภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ สำหรับเด็กปฐมวัย
3. สถานศึกษาดำเนินงานตามโครงการปลูกพลังบวกฯ       
4.นิเทศติดตามสถานศึกษาในโครงการปลูกพลังบวกฯ
5. สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการปลูกพลังบวกฯ  
6. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “เวทีถอดบทเรียน”
7. จัดเวทีแลกเปลี่ยนวิชาการ/มอบโลห์สถานศึกษาต้นแบบ
8. มีการพัฒนาแผนชุดกิจกรรม
4.ยืนหยัดคุณภาพ  1.แต่งตั้งคณะทำงานระดับภูมิภาค 4 ภาค ภาคเหนือ,ภาคใต้,ภาคกลาง,ภาคอีสาน  
2.พัฒนาและปรับปรุงชุดกิจกรรมพลังบวก
3.จัดทำแนวทางการดำเนินงานโครงการปลูกพลังบวกฯสำหรับสถานศึกษาเครือข่าย/ต้นแบบ – แนวทางการดำเนินงานโครงการพลังบวกฯ        – แนวทางการประเมินสถานศึกษาต้นแบบเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้
4.จัดทำคู่มือนิเทศติดตามสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฯ
5.จัดทำสื่อนิทานพื้นบ้าน
5.สร้างเครือข่าย1.สร้างเครือข่ายสถานศึกษา 4 ภูมิภาค รุ่นที่ 1 ปี 2562  -ภาคเหนือ: น่าน  จำนวน  21  แห่ง                          
-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ศรีสะเกษ จำนวน  21 แห่ง -ภาคกลาง : ราชบุรี 22  แห่ง                                 
-ภาคใต้ : ชุมพร  จำนวน  33  แห่ง
2.สร้างเครือข่ายสถานศึกษา 4 จังหวัด รุ่นที่ 2  ปี 2563 -ภาคเหนือ : น่าน จำนวน  453  สถานศึกษา /แพร่  จำนวน  20 สถานศึกษา /เชียงใหม่ จำนวน  21  สถานศึกษา – ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ศรีสะเกษ จำนวน  24 สถานศึกษา/ขอนแก่น  5 สถานศึกษา -ภาคกลาง : ราชบุรี จำนวน  28  สถานศึกษา/สมุทรสาคร จำนวน 11 สถานศึกษา /กาญจนบุรี จำนวน  20  สถานศึกษา -ภาคใต้ : ชุมพร จำนวน 17 สถานศึกษา / ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 2 แห่ง
3.การขยายเครือข่ายที่อยู่ระหว่างดำเนินการ -ภาคเหนือ ที่เชียงใหม่ -ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยเอ็ด/ยโสธร/ขอนแก่น -ภาคกลางและตะวันออก สิงห์บุรี / ปทุมธานี /ระยอง – ภาคใต้ ภูเก็ต
4.จัดสรรชุดกิจกรรมปลูกพลังบวกให้กับสถานศึกษาตามจำนวนห้องเรียนปฐมวัย
6.สู่เป้าหมายแหล่งเรียนรู้  1.สนับสนุนสถานศึกษาดำเนินการตามแนวทางสถานศึกษาต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้
2.นิเทศ ติดตามและประเมินผล
3.ประเมินสถานศึกษาต้นแบบเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้
4.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอผลการดำเนินงานของสถานศึกษาต้นแบบแหล่งเรียนรู้
5.ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นสถานศึกษาต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้
7.ผลักดันสู่นโยบาย  1.นำเสนอไปสู่การกำหนดนโยบายในระดับกระทรวง
– กระทรวงศึกษาธิการ                       
– กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
– กระทรวงสาธารณสุข                      
– กระทรวงมหาดไทย
– กระทรวงอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม
2. ประสานความร่วมมือหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงต่างๆ
3. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ กับหน่วยงานและองค์กร  ที่เกี่ยวข้อง
4. ทำบันทึกความเข้าใจข้อตกลงร่วมมือระหว่างหน่วยงาน (MOU)

กองบรรณาธิการ SDNThailand